ย้อนกลับ
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
บริการ
Motor repair AC & DC
Fabricate
Retrofit & Spare parts
รับวิเคราะห์และแก้ปัญหามอเตอร์ไฟฟ้า
เกร็ดความรู้
EASA Tip
Let's Solve Your Problem
ติดต่อเรา
บอร์ดผู้ซ่อม
บอร์ดผู้ใช้
ความรู้พื้นฐาน
ตัวนำและฉนวน
แรงดัน กระแส และ ความต้านทานไฟฟ้า
กฏของโอห์ม
วงจรไฟฟ้าดีซี
แม่เหล็ก
ไฟฟ้ากระแสสลับ
ค่าความเหนี่ยวนำ และค่าการเก็บประจุ
รีแอคแตนซ์และอิมพีแดนซ์
วงจร R-L-C แบบอนุกรมและขนาน
เพาเวอร์และเพาเวอร์แฟกเตอร์ในวงจรเอซี
มอเตอร์ไฟฟ้าพื้นฐาน
หลักการทำงานมอเตอร์เอซี
หลักการทำงานมอเตอร์ดีซี
หลักการทำงานมอเตอร์สลิป-ริง
เนมเพลทมอเตอร์กรงกระรอก
เนมเพลทมอเตอร์ดีซี
เนมเพลทมอเตอร์สลิป-ริง
มอเตอร์กับการใช้งาน
การสตาร์ทมอเตอร์กรงกระรอก
การตั้งค่าโอเวอร์โหลดรีเลย์
การบำรุงรักษามอเตอร์ไฟฟ้าเอซี
การ Field Balance ด้วยเครื่องวัด Vibration
มอเตอร์กับงานซ่อม
ความรู้งานซ่อม
มาตรฐานใช้ในงานซ่อม
บริการซ่อมและอะไหล่มอเตอร์
งานซ่อมมอเตอร์ไฟฟ้าเอซี AC ดีซี DC สลิป-ริง Slip-ring
อะไหล่spare part
Supply and Retrofit
แผนที่ สำนักงานใหญ่ / โรงงาน
บทความน่าสนใจ
บทความจากวารสาร SKF
บทความจาก EASA
Chang Som Motor Shop , ร้านมอเตอร์ไฟฟ้า
ศูนย์กลางข้อมูล การเรียนรู้ และการซ่อมมอเตอร์ไฟฟ้า
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
บริการ
Motor repair AC & DC
Fabricate
Retrofit & Spare parts
รับวิเคราะห์และแก้ปัญหามอเตอร์ไฟฟ้า
เกร็ดความรู้
EASA Tip
Let's Solve Your Problem
ติดต่อเรา
บอร์ดผู้ซ่อม
บอร์ดผู้ใช้
ความรู้พื้นฐาน
ตัวนำและฉนวน
แรงดัน กระแส และ ความต้านทานไฟฟ้า
กฏของโอห์ม
วงจรไฟฟ้าดีซี
แม่เหล็ก
ไฟฟ้ากระแสสลับ
ค่าความเหนี่ยวนำ และค่าการเก็บประจุ
รีแอคแตนซ์และอิมพีแดนซ์
วงจร R-L-C แบบอนุกรมและขนาน
เพาเวอร์และเพาเวอร์แฟกเตอร์ในวงจรเอซี
มอเตอร์ไฟฟ้าพื้นฐาน
หลักการทำงานมอเตอร์เอซี
หลักการทำงานมอเตอร์ดีซี
หลักการทำงานมอเตอร์สลิป-ริง
เนมเพลทมอเตอร์กรงกระรอก
เนมเพลทมอเตอร์ดีซี
เนมเพลทมอเตอร์สลิป-ริง
มอเตอร์กับการใช้งาน
การสตาร์ทมอเตอร์กรงกระรอก
การตั้งค่าโอเวอร์โหลดรีเลย์
การบำรุงรักษามอเตอร์ไฟฟ้าเอซี
การ Field Balance ด้วยเครื่องวัด Vibration
มอเตอร์กับงานซ่อม
ความรู้งานซ่อม
มาตรฐานใช้ในงานซ่อม
บริการซ่อมและอะไหล่มอเตอร์
งานซ่อมมอเตอร์ไฟฟ้าเอซี AC ดีซี DC สลิป-ริง Slip-ring
อะไหล่spare part
Supply and Retrofit
แผนที่ สำนักงานใหญ่ / โรงงาน
บทความน่าสนใจ
บทความจากวารสาร SKF
บทความจาก EASA
สมัครรับข่าวสาร
กรอกอีเมล
เมื่อท่านส่งข้อมูลผ่านฟอร์ม จะถือว่าท่านยอมรับใน
นโยบายความเป็นส่วนตัว
ของเรา
หน้าแรก
>
บอร์ดผู้ใช้
>
คิดค่าโหลด
คิดค่าโหลด
โดย:
Somey1
[IP: 1.47.235.xxx]
เมื่อ: 2016-10-29 18:01:44
ผมขอถามหน่อยครับ ค่า 1.732 คือค่าอะไรครับ ช่วยอธิบายให้ผมรู้หน่อยครับ
ความคิดเห็น
Facebook Comments
#1
โดย:
ช่างช่อมมอเตอร์
[IP: 171.5.244.xxx]
เมื่อ:
2016-10-29 19:07:33
- มอเตอร์ 3 เฟส เป็นมอเตอร์ที่มีขดลวดหลักอยู่ 3 ชุด ชุดละเฟส
- การที่จะนำไปใช้งาน เราจะเอาขดลวดทั้ง 3 เฟสมาต่อให้เป็นวงจร สตาร์หรือเดลต้า
- การที่มอเตอร์จะสตาร์ท สตาร์-เดลต้าได้ มอเตอร์ต้องต่อเป็นเดลต้าในจังหวะสุดท้าย
- เมื่อต่อเป็นวงจรเดลต้า กระแสที่ไหลในแต่ละเฟสขดลวด จะมีค่าเท่ากับ กระแสจากแหล่งจ่ายหารด้วย 1.732
- ค่ากระแสที่กำหนดในเนมเพลท จะเป็นค่ากระแสที่มอเตอร์ดึงจากแหล่งจ่าย(กระแสไลน์)
- และเนื่องด้วยแมกเนติก เมน และเดลต้า จะมีกระแสเฟส ไหลผ่าน จึงจำเป็นต้องหากระแสเฟส
- ซึ่งก็หาได้จากเอากระแสเนมเพลทของมอเตอร์ หารด้วย 1.732
- ในทางกลับกัน ถ้าเอามอเตอร์ไปสตาร์ท แบบต่อตรง (Direct Online) เราก็จะเอากระแสที่เนมเพลทมอเตอร์ไปหาขนาดแมกเนติกเลย
ชื่อผู้ตอบ:
Visitors:
80,187
- การที่จะนำไปใช้งาน เราจะเอาขดลวดทั้ง 3 เฟสมาต่อให้เป็นวงจร สตาร์หรือเดลต้า
- การที่มอเตอร์จะสตาร์ท สตาร์-เดลต้าได้ มอเตอร์ต้องต่อเป็นเดลต้าในจังหวะสุดท้าย
- เมื่อต่อเป็นวงจรเดลต้า กระแสที่ไหลในแต่ละเฟสขดลวด จะมีค่าเท่ากับ กระแสจากแหล่งจ่ายหารด้วย 1.732
- ค่ากระแสที่กำหนดในเนมเพลท จะเป็นค่ากระแสที่มอเตอร์ดึงจากแหล่งจ่าย(กระแสไลน์)
- และเนื่องด้วยแมกเนติก เมน และเดลต้า จะมีกระแสเฟส ไหลผ่าน จึงจำเป็นต้องหากระแสเฟส
- ซึ่งก็หาได้จากเอากระแสเนมเพลทของมอเตอร์ หารด้วย 1.732
- ในทางกลับกัน ถ้าเอามอเตอร์ไปสตาร์ท แบบต่อตรง (Direct Online) เราก็จะเอากระแสที่เนมเพลทมอเตอร์ไปหาขนาดแมกเนติกเลย